Xเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร่งคงตัวโดยเริ่มต้นวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว u ที่เวลาเริ่มต้น t = 0 หลังจากเวลาผ่านไป t วัตถุจะมีความเร็วเป็น v ถ้าเขียนกราฟความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนที่ในกรณีนี้เขียนได้ดังรูป
(หมายเหตุ ในที่นี้เราพิจารณาวัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
ดังนั้น ขนาดของระยะทาง=ขนาดของการกระจัด=s) อ่านเพิ่ม
วันพฤหัสบดีที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2558
บทที่ 2.4 กราฟความเร็วเวลากับระยะทาง
ความสัมพันธ์ระหว่างกราฟความเร็วเวลากับระยะทางสำหรับการเคลื่อนที่ในแนวตรง วัตถุเคลื่อนที่ในแนวตรง ทิศทางการเคลื่อนที่จะมีเพียงสองทิศทาง คือ
ทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ และทิศทางสวนทางกับการเคลื่อนที่
ในการเคลื่อนที่ที่ไม่กลับทิศทาง อ่านเพิ่ม
บทที่ 2.3 ความเร่ง
ความเร่ง คือ
ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลาเป็นปริมาณเวกเตอร์หรืออัตราการเปลี่ยนความเร็วเมื่อวัตถุมีความเร่งในช่วงเวลาหนึ่ง
ความเร็วของมันจะเปลี่ยนแปลงไป ความเร่งอาจมีค่าเป็นบวกหรือลบก็ได้
ซึ่งเรามักว่าเรียก ความเร่ง
(+a) กับ ความหน่วง
(-a) ตามลำดับ
ความเร่งมีนิยามว่า
"อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุในช่วงเวลาหนึ่ง" อ่านเพิ่ม
บทที่ 2.2 การวัดอัตราเร็วของการเคลื่อนที่ในแนวตรง
วัตถุบางชนิดขณะเคลื่อนที่จะไม่มีเครื่องวัดอัตราเร็วเหมือนกับรถยนต์
เช่น คนวิ่ง ผลไม้ตกจากต้นไม้ ถ้าต้องการทราบอัตราเร็วของสิ่งเหล่านัน
ก็สามารถทำได้โดยใช้นาฬิกาจับเวลา และวัดระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ อ่านเพิ่ม
บทที่ 2.1 ปริมาณต่างๆของการเคลื่อนที่
ตำแหน่ง (position) คือ จุดที่บอกให้ทราบว่าวัตถุหรือสิ่งของ
อยู่ทีใดเมื่อเทียบกับจุดอ้างอิง
ระยะทาง (distance) คือ ความยาวที่วัดตามเส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุจากตำแหน่งเริ่มต้น ถึงตำแหน่งสุดท้าย จัดเป็นปริมาณสเกลลาร์ มีหน่วยเป็นเมตร อ่านเพิ่ม
ระยะทาง (distance) คือ ความยาวที่วัดตามเส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุจากตำแหน่งเริ่มต้น ถึงตำแหน่งสุดท้าย จัดเป็นปริมาณสเกลลาร์ มีหน่วยเป็นเมตร อ่านเพิ่ม
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
1. ลักษณะการเคลื่อนที่
ในธรรมชาติมีการเคลื่อนที่หลายลักษณะ
เช่น รถยนต์แล่นไปตามถนน การหมุนของวงล้อจักรยานการกระเพื่อมขึ้นลงของผิวน้ำ
การเคลื่อนที่ทั้งหลายเหล่านี้ล้วนเกี่ยวข้องกับตำแหน่งและการเปลี่ยนตำแหน่งในช่วงเวลาหนึ่ง
ๆ ถ้าเป็นกรณีรถยนต์แล่นไปตามถนนลักษณะที่จะเกี่ยวกับตำแหน่งและการเปลี่ยนตำแหน่งของรถยนต์
เป็นต้น อ่านเพิ่ม
บทที่ 1.8 การวิเคราะห์ผลการทดลอง
ก่อนเริ่มการวิเคราะห์ข้อมูล
อย่างผู้วิเคราะห์ข้อมูลควรจะต้องรู้จักลักษณะการกระจายแบบเกาส์เซียน
โดยเฉพาะพารามิเตอร์ที่ใช้ในการอธิบายโค้งเกาส์เซียน เช่น ค่าเฉลี่ย
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความสูง เป็นต้น
ซึ่งความรู้นี้จำทำให้ทุกคนเข้าใจการวิเคราะห์ค่าจากการฟิตพีคมากยิ่งขึ้น อ่านเพิ่ม
บทที่ 1.7 การบันทึกผลการคำนวณ
สิ่งที่สำคัญประการหนึ่งในการทดลองคือการบันทึกข้อมูลตามความเป็นจริง การบันทึกข้อมูลนั้นมีได้2ลักษณะ คือ การบันทึกข้อมูลเชิงคุณภาพ(บอกถึงลักษณะ
และคุณสมบัติต่างๆที่สังเกตได้จาการทดลอง) และการบันทึกข้อมูลเชิงปริมาณ(บอกถึง จำนวนมากน้อยในลักษณะเป็นตัวเลข) อ่านเพิ่ม
บทที่ 1.6 เลขนัยสำคัญ
เลขนัยสำคัญ (Significant) เป็นตัวเลขที่ได้จากเครื่องมือวัดแบบสเกลโดยตรงรวมกับตัวเลขที่ได้จากการประมาณอีก
1 ตัว
ตามหลักการบันทึกตัวเลขที่เหมาะสม เช่น ผลการวัดความยาวค่าหนึ่ง
อ่านได้จากเครื่องมือวัด 105.23 เซนติเมตร อ่านเพิ่ม
บทที่ 1.5 ความไม่แน่นอนในการวัด
ในการวัดปริมาณต่างๆ
ด้วยเครื่องมือ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการทดลอง ย่อมไม่สามารถวัดได้อย่างแม่นยำ โดยทั่วไปจะมีความผิดพลาด(Error) หรือความคลาดเคลื่อนอยู่เสมอ อ่านเพิ่ม
บทที่ 1.4 การทดลองในวิชาฟิสิกส์
การทดลองในวิชาฟิสิกส์ดังที่จะได้กระทำในบทเรียนต่างๆ
ต่อไป แม้จะไม่ใช่ของใหม่การฝึกทำจะเป็นการฝึกฝนวิธีการทำการทดลอง
ตามแนวที่เป็นที่ยอมรับในวงการฟิสิกส์
การทำการทดลองถือเป็นส่วนสำคัญในการฝึกทำและคิดหาเหตุผลอย่างวิทยาศาสตร์ อ่านเพิ่ม
บทที่ 1.3 ปริมาณกายภาพและหน่วย
ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) เป็นข้อมูลที่ไม่เป็นตัวเลข
ได้จากการสังเกตตามขอบเขตของการรับรู้ เช่น รูปร่าง ลักษณะ กลิ่น สี รส เป็นต้น
ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข
ได้จากการวัดปริมาณต่างๆโดยใช้เครื่องมือวัดและวิธีการวัดที่ถูกต้อง อ่านเพิ่ม
บทที่ 1.2 ฟิสิกส์
ฟิสิกส์ (Physics)
เป็นวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับสสารและพลังงาน
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสสารกับพลังงาน
รวมทั้งเป็นความรู้พื้นฐานที่นำไปใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิต
และเครื่องใช้ต่าง ๆ อ่านเพิ่ม
บทที่ 1.1 การอธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติ
มนุษย์ในสมัยโบราณเชื่อว่าปรากฏการทางธรรมชาติเป็นฝีมือของเทพเจ้าหรือภูตผีปีศาจ ซึงได้แก่
กลางวันกลางคืน ภูเขาไฟระเบิด ดาวตก พายุ รุ้งกินน้ำเป็นต้น การพยายามหาคำตอบในสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นธรรมชาติของมนุษย์ที่ต้องการทราบในสิ่งต่าง
ๆ ที่ยังอธิบายไม่ได้ อ่านเพิ่ม
บทที่ 1 บทนำ
ฟิสิกส์(physics)มาจากภาษากรีกที่มีความหมายว่า"ธรรมชาติ"ดังนั้นฟิสิกส์จึงควรจะหมายถึงเรื่องราวที่เกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติทั้งหลายและมีความหมาย เช่นนั้น ในสมัยก่อนซึ่งบางครั้งอาจเรียกว่า"ปรัชญาธรรมชาติ"ปัจจบันความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติได้ขยายขึ้นอย่างมากทั้งในเชิงรายละเอียดเเละสาขาของความรู้ โดยเฉพาะความรู้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์จึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของวิทยาศาสตร์
(science) อ่านเพิ่ม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)